สรุปผลประเมินการจัดบริการสาธารณะ เทศบาลตำบล อากาศอำนวย

บริการสาธารณะ

เกณฑ์ชี้วัด

ค่าเป้าหมาย (%)

กรอบการประเมิน (1)

การจัดบริการสาธารณะ (2)

(2) เทียบ กับ (1) %

ผลการประเมิน

ด้านที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน และ ด้านที่ 2 ผังเมือง

1.ด้านโครงสร้างพื้นฐาน

1. ร้อยละของจำนวนถนนลาดยางในความรับผิดชอบทั้งหมดของ เทศบาล ที่ได้รับการบำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ปกติ

80

2

2

100

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

2. ร้อยละของจำนวนถนนคอนกรีตในความรับผิดชอบทั้งหมดของ เทศบาล ที่ได้รับการบำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ปกติ

80

403

403

100

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

3. ร้อยละของจำนวนจุดอันตรายที่เกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้งทางการจราจรทางบกในเขต เทศบาล ที่ได้รับการพัฒนา ปรับปรุง หรือแก้ไขให้ปลอดภัย

75

2

2

100

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

4. จำนวนครั้งที่เทศบาลดำเนินการจัดกิจกรรม ในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ เพื่อมุ่งลดการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน

3

3

2

66.67

การพัฒนาในอนาคต

5. ร้อยละของจำนวนสะพานคอนกรีตที่ใช้สัญจรในเขตทางในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่ได้รับการบำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ปกติ (เฉพาะเทศบาลนคร และเทศบาลเมือง)

90

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

6. ร้อยละของจำนวนสัญญาณไฟจราจรในความรับผิดชอบในเขตทางของ เทศบาล ที่ได้รับการบำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ปกติ

100

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

7. ร้อยละของจำนวนไฟส่องสว่างในความรับผิดชอบในเขตทางของ เทศบาล ที่ได้รับการบำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ปกติ

100

349

349

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

8. ร้อยละของจำนวนสายทางคลอง หรือลำธารสาธารณะ หรือแหล่งน้ำสาธารณะ หรือพื้นที่ พักน้ำ หรือแก้มลิง ในความรับผิดชอบของเทศบาลที่ได้รับการดูแลรักษาให้น้ำสามารถไหลผ่านได้ไม่ติดขัด หรือให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ปกติ

90

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

9. ร้อยละของจำนวนเครื่องสูบน้ำที่อยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่ได้รับการบำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ปกติ

95

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

10. ร้อยละของจำนวนคลองส่งน้ำที่อยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาลตำบลที่ได้รับการบำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ปกติ(เฉพาะเทศบาลตำบล)

90

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

11. ร้อยละของจำนวนระบบการผลิตน้ำประปาที่อยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาลตำบลที่ได้รับการบำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ปกติ (เฉพาะเทศบาลตำบล)

95

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

12. จำนวนครั้งในการประเมินความพึงพอใจของประชาชนต่อการจัดบริการสาธารณะ ด้านโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาล

1

1

1

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

 

2. ด้านการผังเมือง

13. จำนวนผังเมืองที่เทศบาลได้มีการจัดทำโดยเทศบาลดำเนินการเอง หรือเทศบาลดำเนินการร่วมกับกรมโยธาธิการและผังเมือง

1

1

-

-

ไม่ได้ดำเนินการ
ในปีงบประมาณ พ.ศ

14. จำนวนครั้งในการส่งเสริมและสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการวางผังเมือง ผ่านกระบวนการรับฟังความคิดเห็นโดยเทศบาล ดำเนินการเอง หรือเทศบาลดำเนินการร่วมกับกรมโยธาธิการและผังเมือง

1

1

-

-

ไม่ได้ดำเนินการ
ในปีงบประมาณ พ.ศ

15. จำนวนครั้งในการให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นไปตามผังเมือง โดยเทศบาลดำเนินการเอง หรือเทศบาลดำเนินการร่วมกับกรมโยธาธิการและผังเมือง

1

1

-

-

ไม่ได้ดำเนินการ
ในปีงบประมาณ พ.ศ

16. ร้อยละของจำนวนอาคารสูง หรืออาคารที่มีความเสี่ยงและความล่อแหลมที่จะเกิดอุบัติภัยที่อยู่ในเขตพื้นที่ของเทศบาล ที่ได้รับการรณรงค์ส่งเสริมและแก้ไขให้ถูกต้อง (เฉพาะเทศบาลนคร และเทศบาลเมือง)

90

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

17. จำนวนครั้งในการส่งเสริมให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการควบคุมอาคาร และการรับมือกับความเสี่ยงต่าง ๆ ในอาคารสูงหรืออาคารที่มีความเสี่ยงภัย หรือในชุมชน เช่น การซ้อมหนีไฟ การซ้อมดับเพลิง แผ่นดินไหว โดยเทศบาลดำเนินการเอง หรือเทศบาลดำเนินการร่วมกับกรมโยธาธิการและผังเมือง

2

2

-

-

ไม่ได้ดำเนินการ
ในปีงบประมาณ พ.ศ

18. จำนวนครั้งในการให้ความรู้ ให้คำแนะนำ ปรึกษา แก่ประชาชน หรือผู้ประกอบการในการออกใบอนุญาตก่อสร้างอาคารให้ตรง กับข้อกำหนดของการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ โดยเทศบาลดำเนินการเอง หรือเทศบาลดำเนินการร่วมกับกรมโยธาธิการและผังเมือง

1

1

-

-

ไม่ได้ดำเนินการ
ในปีงบประมาณ พ.ศ

19. จำนวนครั้งในการจัดเก็บข้อมูลการประเมินผลผังเพื่อจัดทำรายงานการประเมินผลการเปลี่ยนแปลงสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อม การใช้บังคับผังเมือง โดยเทศบาลดำเนินการเอง หรือเทศบาลดำเนินการร่วมกับกรมโยธาธิการและผังเมือง

1

1

-

-

ไม่ได้ดำเนินการ
ในปีงบประมาณ พ.ศ

20. จำนวนครั้งในการประเมินความพึงพอใจของประชาชนต่อการจัดบริการสาธารณะ ด้านการผังเมืองของเทศบาล

1

1

-

-

ไม่ได้ดำเนินการ
ในปีงบประมาณ พ.ศ

 

ด้านที่ 3 ด้านสาธารณสุข บริการทางสังคม และคุณภาพชีวิต

3. ด้านสาธารณสุข บริการทางสังคม และคุณภาพชีวิต

21. ร้อยละของจำนวนผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพหรือป่วยติดเตียงที่ได้รับการดูแล และมีการติดตามผล หรือการออกเยี่ยมบ้านให้คำแนะนำ ปรึกษา ปัญหาสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุจากเทศบาล

90

83

83

100

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

22. จำนวนโครงการหรือกิจกรรมที่เทศบาลดำเนินการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ หรือป่วยติดเตียง

2

2

2

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

23. ร้อยละของจำนวนผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกในชมรม สมาคม ศูนย์บริการทางสังคม หรือโรงเรียนผู้สูงอายุที่อยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาลที่เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่ชมรม สมาคม ศูนย์บริการทางสังคม หรือโรงเรียนผู้สูงอายุที่อยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาล จัดขึ้น

60

50

50

100

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

24. จำนวนโครงการหรือกิจกรรมที่เทศบาลดำเนินการ หรือให้การสนับสนุนในการจัดกิจกรรมนันทนาการต่าง ๆ หรือส่งเสริมการออกกำลังกายให้แก่ผู้สูงอายุ

2

2

3

150

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

25. จำนวนโครงการหรือกิจกรรมที่เทศบาลดำเนินการ หรือให้การสนับสนุนในการพัฒนาอาชีพและการส่งเสริมเพิ่มรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุ

2

2

3

150

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

26. ร้อยละของจำนวนผู้สูงอายุที่ยากไร้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงในพื้นที่เทศบาลที่ขอรับการช่วยเหลือจากเทศบาลและได้รับการดูแลช่วยเหลือจากเทศบาล หรือเทศบาลประสานงานส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ดำเนินการสงเคราะห์ หรือฟื้นฟู หรือเทศบาลประสานงาน และสงเคราะห์ให้เข้าสู่สถานสงเคราะห์คนชรา

80

16

16

100

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

27. ร้อยละของจำนวนผู้พิการ ผู้ยากไร้ ที่ด้อยโอกาสในพื้นที่เทศบาลที่ขอรับการช่วยเหลือจากเทศบาล และได้รับการช่วยเหลือสนับสนุนหรือประสานหน่วยงานส่งต่อหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องให้ดำเนินการช่วยเหลือสนับสนุนปัจจัยสี่ในการดำรงชีพ

100

23

23

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

28. จำนวนโครงการหรือกิจกรรมที่เทศบาลดำเนินการในการส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคประจำถิ่น การแพร่ระบาดของโรคติดต่อ รวมถึงการป้องกัน ควบคุมกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCDs (Non-communicable diseases) เกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ชีวิต การรับประทานอาหาร ความเครียด เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันสูง โรคไขมันในเลือดสูง เป็นต้น

2

2

8

400

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

29. จำนวนโครงการหรือกิจกรรมที่เทศบาลดำเนินการเอง หรือร่วมดำเนินการกับส่วนราชการ ในการตรวจสุขาภิบาลอาหารหรือสถานประกอบกิจการอาหารในพื้นที่

2

2

1

50

การพัฒนาในอนาคต

30. ร้อยละของจำนวนสัตว์ในพื้นที่เทศบาลที่ได้รับการสำรวจ ขึ้นทะเบียนสัตว์ และฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า หรือทำหมันตามโครงการสัตว์ปลอดโรคคนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ที่เทศบาลดำเนินการเอง หรือร่วมดำเนินการกับส่วนราชการ

100

2768

500

18.06

การพัฒนาในอนาคต

31. จำนวนครั้งในการประเมินความพึงพอใจของประชาชนต่อการจัดบริการสาธารณะ ด้านสาธารณสุข บริการทางสังคม และคุณภาพชีวิตของเทศบาล

1

1

1

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

 

ด้านที่ 4 ด้านการศึกษา

ด้านที่ 4 การศึกษา

32. ร้อยละของจำนวนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาล ที่ผ่านการประเมินมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ

100

2

2

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

33. ร้อยละของจำนวนเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเด็กในโรงเรียนอนุบาล และเด็กในโรงเรียนประถมศึกษาในสังกัดเทศบาล ที่ได้รับอาหารเสริม (นม) ครบถ้วน และเด็กนักเรียนในโรงเรียนในสังกัดอื่นที่เทศบาลให้การสนับสนุนหรืออุดหนุน

100

1742

1742

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

34. ร้อยละของจำนวนเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเด็กในโรงเรียนอนุบาล และเด็กในโรงเรียนประถมศึกษาในสังกัดเทศบาล ที่ได้รับอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน และเด็กนักเรียนในโรงเรียนในสังกัดอื่น ที่เทศบาลให้การสนับสนุนหรืออุดหนุน

100

1742

1742

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

35. ร้อยละของจำนวนเด็กด้อยโอกาส เด็กพิการที่ได้รับการสนับสนุนด้านการศึกษา หรือด้านการเงิน หรือวัสดุอุปกรณ์จากเทศบาล

100

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

36. จำนวนโครงการหรือกิจกรรมที่เทศบาลดำเนินการ หรือให้การสนับสนุนในการส่งเสริมอาชีพ หรือวิชาชีพ ให้แก่นักเรียนในโรงเรียน ในสังกัดเทศบาล รวมถึงนักเรียนในโรงเรียน ในสังกัดอื่นที่เทศบาลให้การสนับสนุนหรืออุดหนุน

2

2

-

-

ไม่ได้ดำเนินการ
ในปีงบประมาณ พ.ศ

37. จำนวนโครงการหรือกิจกรรมที่เทศบาลดำเนินการ หรือให้การสนับสนุน ในการส่งเสริมการเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ ทักษะคอมพิวเตอร์ หรือการรู้เท่าทันโลกดิจิทัลให้แก่นักเรียนในโรงเรียน ในสังกัดเทศบาล รวมถึงนักเรียนในโรงเรียน ในสังกัดอื่นที่เทศบาลให้การสนับสนุนหรืออุดหนุน

2

2

1

50

การพัฒนาในอนาคต

38. ร้อยละของจำนวนโรงเรียนในสังกัดเทศบาลที่จัดการเรียนการสอนในระบบสองภาษาหรือหลักสูตรสองภาษา

100

1

-

-

ไม่ได้ดำเนินการ
ในปีงบประมาณ พ.ศ

39. จำนวนโครงการหรือกิจกรรมที่เทศบาลดำเนินการ หรือให้การสนับสนุนในการส่งเสริมการสอนภาษาต่างประเทศให้แก่นักเรียนในโรงเรียนในสังกัดของเทศบาล รวมถึงนักเรียนในโรงเรียนในสังกัดอื่นที่เทศบาล ให้การสนับสนุนหรืออุดหนุน

2

2

1

50

การพัฒนาในอนาคต

40. จำนวนครั้งในการประเมินความพึงพอใจของประชาชนต่อการจัดบริการสาธารณะ ด้านการศึกษาของเทศบาล

1

1

1

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

 

ด้านที่ 5 ด้านการจัดระเบียบชุมชนและการรักษาความสงบปลอดภัย

ด้านที่ 5 การจัดระเบียบชุมชนและการรักษาความสงบปลอดภัย

41. จำนวนแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประเภทสำคัญที่เกิดขึ้นในพื้นที่ที่เทศบาลได้ดำเนินการ

2

2

5

250

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

42. ร้อยละของจำนวนอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) ที่เทศบาลสนับสนุนจัดตั้งขึ้น รวมทั้งจำนวนอาสาสมัครป้องกัน สาธารณภัยของมูลนิธิ สมาคม สมาชิก ชมรม หรืออื่น ๆ ที่ตั้งขึ้นถูกต้องตามกฎหมายในเขตพื้นที่

2

8839

10

0.11

การพัฒนาในอนาคต

43. ร้อยละของจำนวนกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ด้านความปลอดภัยของเทศบาลที่ติดตั้งในพื้นที่สาธารณะที่ชำรุดเสียหายและสามารถซ่อมแซมให้ใช้งานได้ปกติ 24 ชั่วโมง

100

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

44. จำนวนศูนย์หรือช่องทางการรับเรื่องราวร้องทุกข์ต่าง ๆ เช่น ศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ศูนย์ยุติธรรมชุมชน ศูนย์บริการประชาชน ศูนย์ดำรงธรรม ศูนย์ one stop service ศูนย์ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน หรือจากช่องทางสื่อออนไลน์อื่น ๆ ที่เทศบาลจัดให้มีหรือดำเนินการ

2

2

8

400

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

45. ร้อยละของจำนวนเรื่องราวร้องทุกข์ต่าง ๆ ของประชาชน จากศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ ศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ศูนย์ยุติธรรมชุมชน ศูนย์บริการประชาชน ศูนย์ดำรงธรรม ศูนย์ one stop service ศูนย์ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน หรือจากช่องทางสื่อออนไลน์อื่น ๆ ที่ส่งให้เทศบาลดำเนินการ และได้รับการแก้ไขปัญหา หรือได้รับการให้ความช่วยเหลือจากเทศบาล หรือเทศบาลประสานงานส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการต่อไป

100

13

13

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

46. จำนวนครั้งในการประเมินความพึงพอใจของประชาชนต่อการจัดบริการสาธารณะ ด้านการจัดระเบียบชุมชนและการรักษาความสงบปลอดภัยของเทศบาล

1

1

1

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

 

ด้านที่ 6 ด้านการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน อาชีพ การท่องเที่ยว และการลงทุน

ด้านที่ 6 การส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน อาชีพ การท่องเที่ยว และการลงทุน

47. ร้อยละของจำนวนกลุ่มอาชีพต่าง ๆ เช่น กลุ่มเกษตรกร กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแปรรูป การผลิต กลุ่มการท่องเที่ยว กลุ่มอาชีพใหม่ ฯลฯ ที่เทศบาลดำเนินการส่งเสริม หรือให้การสนับสนุนให้สามารถดำเนินการได้อย่างยั่งยืน และมีรายได้ต่อเนื่อง

90

10

10

100

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

48. จำนวนโครงการหรือกิจกรรมที่เทศบาลดำเนินการส่งเสริม หรือให้การสนับสนุน กลุ่มอาชีพต่าง ๆ เช่น กลุ่มเกษตรกร กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแปรรูปการผลิต กลุ่มการท่องเที่ยว กลุ่มอาชีพใหม่ ฯลฯ ให้สามารถดำเนินการได้อย่างยั่งยืน และมีรายได้ต่อเนื่อง

2

2

4

200

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

49. จำนวนโครงการหรือกิจกรรมที่เทศบาลดำเนินการส่งเสริม หรือให้การสนับสนุนจัดให้มีศูนย์แสดงสินค้าชุมชน ศูนย์จำหน่ายสินค้า ตลาดนัด ตลาดชุมชน ถนนคนเดิน ถนนวัฒนธรรม ตลาดน้ำ หรือตลาดเก่า

2

2

6

300

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

50. จำนวนโครงการหรือกิจกรรมที่เทศบาลดำเนินการ หรือให้การสนับสนุนในการปรับปรุง ซ่อมแซม บำรุงรักษา และฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวให้มีสภาพที่เหมาะสมต่อการท่องเที่ยว

2

2

1

50

การพัฒนาในอนาคต

51. จำนวนโครงการหรือกิจกรรมที่เทศบาลดำเนินการ หรือให้การสนับสนุน ในการกระตุ้น หรือส่งเสริมการท่องเที่ยว และการให้ความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของแหล่งท่องเที่ยว

2

2

4

200

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

52. จำนวนช่องทางหรือแหล่งเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการให้คำปรึกษา หรือแนะนำในการขอใบอนุญาต จดทะเบียนพาณิชย์ หรือการส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่ ทั้งการให้คำปรึกษา หรือแนะนำ ที่สำนักงานเทศบาลโดยตรง หรือให้คำแนะคำผ่านช่องทางสื่อออนไลน์ เช่น เว็บไซต์ หรือเฟซบุ๊ก หรือผ่านช่องทางสื่อออนไลน์อื่น ๆ

2

2

3

150

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

53. จำนวนครั้งในการประเมินความพึงพอใจของประชาชนต่อการจัดบริการสาธารณะ ด้านการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน อาชีพ การท่องเที่ยว และการลงทุนของเทศบาล

1

1

1

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

 

ด้านที่ 7 ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ ด้านที่ 8 ด้านการส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาชาวบ้าน และโบราณสถาน

ด้านที่ 7 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

54. จำนวนโครงการหรือกิจกรรมที่เทศบาลดำเนินการในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ การลดปริมาณขยะ หรือการคัดแยกขยะ

2

2

3

150

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

55. ร้อยละของปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่เทศบาลที่ถูกกำจัดอย่างถูกสุขลักษณะ ตามกฎ ระเบียบ ขั้นตอนตามหลักวิชาการของกระทรวงสาธารณสุขหรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง

95

3314.31

4698.75

141.77

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

56. ร้อยละของปริมาณขยะอันตราย และขยะติดเชื้อในพื้นที่เทศบาลที่ถูกส่งต่อไปกำจัด อย่างถูกสุขลักษณะ

95

38.65

38.65

100

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

57. จำนวนโครงการหรือกิจกรรมที่เทศบาลดำเนินการในการส่งเสริมการปลูกต้นไม้ การอนุรักษ์ดูแลรักษาป่า ทรัพยากรชายฝั่งหรือการจัดการเกี่ยวกับปัญหาน้ำเน่าเสีย

2

2

3

150

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

58. จำนวนโครงการหรือกิจกรรมของที่เทศบาลตำบลดำเนินการในการจัดอบรมหรือประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการดูแลรักษาป่า ภัยจากไฟป่า การป้องกันไฟป่า การเผาในที่โล่ง ภัยจากการเผาในที่โล่ง หรือการทำแนวกันไฟป่า (เฉพาะเทศบาลตำบล)

2

2

-

-

ไม่ได้ดำเนินการ
ในปีงบประมาณ พ.ศ

59. จำนวนครั้งที่เทศบาลตำบลจัดส่งอาสาสมัครป้องกันไฟป่าเข้าร่วมอบรมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง(เฉพาะเทศบาลตำบล)

1

1

-

-

ไม่ได้ดำเนินการ
ในปีงบประมาณ พ.ศ

60. จำนวนโครงการหรือกิจกรรมที่เทศบาลดำเนินการในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ เพื่อป้องกันและลดค่าฝุ่น PM 2.5 และการลดมลพิษทางอากาศ

2

2

1

50

การพัฒนาในอนาคต

61. ร้อยละของจำนวนข้อมูลค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของเทศบาล

100

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

62. จำนวนครั้งที่เทศบาลนครได้ดำเนินการติดตามตรวจสอบโครงการหรือกิจการ หรือการดำเนินการที่อาจมีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต หรือส่วนได้เสียสำคัญอื่นใดของประชาชนหรือชุมชนหรือสิ่งแวดล้อม(เฉพาะเทศบาลนคร)

1

1

-

-

ไม่ได้ดำเนินการ
ในปีงบประมาณ พ.ศ

63. จำนวนโครงการหรือกิจกรรมที่เทศบาลดำเนินการในการรณรงค์การลดภาวะโลกร้อน และส่งเสริมการใช้พลังงานสะอาด

1

1

2

200

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

64. จำนวนครั้งในการประเมินความพึงพอใจของประชาชนต่อการจัดบริการสาธารณะ ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของเทศบาล

1

1

1

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

 

ด้านที่ 8 การส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาชาวบ้าน และโบราณสถาน

65. จำนวนโครงการหรือกิจกรรมที่เทศบาลดำเนินการ หรือสนับสนุนในการส่งเสริม หรืออนุรักษ์ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่นหรือภูมิปัญญาชาวบ้าน

3

3

6

200

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

66. จำนวนแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น ในชุมชน เกี่ยวกับศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และโบราณสถานที่เทศบาล ดำเนินการ หรือให้การส่งเสริมสนับสนุน

2

2

2

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

67. จำนวนครั้งในการประเมินความพึงพอใจของประชาชนต่อการจัดบริการสาธารณะ ด้านการส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาชาวบ้าน และโบราณสถานของเทศบาล

1

1

6

600

สูงกว่าค่าเป้าหมาย